Tuesday, September 28, 2010

Acute Abdomen Film

Consist of
  1. CXR
  2. AXR Upright
  3. AXR Supine  ใช้ดู Bowel Gas Pattern, Fluid ได้ดี
Reading Step in Acute Abdomen Series
  1. ชื่อ นามสกุล HN
  2. คุณภาพฟิล์ม (Exposure, Position)
  3. CXR
    • Free air under Diaphragm
    • Infiltration
    • Effusion (พบใน Pancreatitis ได้)
  4. AXR
    • Hollow organ
      • Stomach dilation  (ขนาดใหญ่, LUQ, Rugae)
      • Small bowel dilation ( < 5 cm, Periumbilical area, Valvulae conniventes [Fold ครบวง] )
      • Large bowel dilation (> 5 cm, Both flank and epigastrium, Haustration)
      • ::: ถ้ามี Dilate มากระวัง Bowel แตกได้ :::
    • Solid organ
      • Organomegaly
    • Margin (Look for Free air, Free fluid, Blur outline)
      • Diaphragm
      • Psoas muscle outline (สามารถ Blur ได้จาก Fluid หรือมี Inflammation)
      • Properitoneal fat and Paracolic gutter
    • Bone
      • Fracture 
      • Destruction
      •  Infiltration
    • Calcification 
      • Aneurysm
      • Gallstone
      • Renal stone
      • Mass, Lymph node, Pancreas
::: ถ้ามี Dilate มากระวัง Bowel แตกได้ :::
Small bowel > 3 cm
Colon > 6 cm
Caecum > 9 cm (if IC valve competence)

ต่อไปเราจะมาดูลักษณะของฟิล์มในแต่ละอาการกันดีกว่า
  1. Gastric Outlet Obstruction [M/C Cause = PU]
    • Gastric dilation [Pyloric stenosis]
    • Double bubble sign [Duodenal stenosis] เนื่องจากมี Gastric and Duodenum bulb dilation
    • Further Investigation
      • Esophagogastroduodenoscopy (EGD) / Barium meal
      • CT Scan บอก ตำแหน่งได้ดี ถ้าเป็นมะเร็งก็สามารถ Staging ได้เลย
  2. Small Bowel Obstruction [M/C cause = Adhesion/Herniation]
    • Proximal small bowel dilation (< 5 cm)
    • Different height in the same loop
    • Step ladder pattern
    • Disproportion of Air between Small and Large bowel
    • String of bead => Prolong obstruction
    • Gasless abdomen => Very Prolong!
    • !!! Early Obs., Partial Obs., Close loop Obs. จะไม่เห็นใน AXR !!!
    • Further investigation
      • CT Whole abdomen
  3. Large Bowel Obstruction [M/C Cause = Tumor, Diverticulum]
    • Proximal large bowel dilation (> 5 cm)
    • Disproportion of Air between Small and Large bowel
    • Small bowel dilation => IC valve incompetence => Prolong obstruction
    • No air in Rectum
    • Further investigation
      • CT Whole abdomen
      • Colonoscopy
      • Barium enema [!! ระวังในคนที่ผนังลำไส้บาง เดี๋ยวแตก]
  4. Adynamic Ileus
    • มี Content อยู่เต็มลำไส้
    • Small & Large bowel dilation
    • may be Gastric dilation 
    • Air-Fluid level, Different height in the same loop may be present
    • Type :
      • Localized     Sentinel loop dilation จากการที่มีการอักเสบของบริเวณข้างเคียง
      • Generalized  Whole bowel dilation เช่น Post-op., Peritonitis, ฯลฯ
    • Further investigation
      • Barium Enema   ถ้าแป้งเข้าไปได้ตลอดก็จะเป็น Ileus
  5. Caecum Volvulus
    • Caecum dilation to LUQ
    • Kidney-liked shape
    • Further investigation
      • Barium Enema
  6. Sigmoid Volvulus 
    • Inverted U shape/ Coffee been sign
    • 3-white-line in Upright film
    • Further investigation
      • Barium enema
  7. Gallstone ileus [gallstone -> Fistula -> Stone หลุดไปอุด Small bowel (eg. @ Treitz, IC valve]
    • พบ Small Bowel Obstruction
    • Air in Biliary tract (Dilated Biliary tract)
    • พบนิ่วอยู่นอกถุง
    • 3 ข้อรวมกัน = Rigler triad

Introduction to Abdominal X-Ray

Position
  1. Upright
  2. Supine
Study Method
  1. Plain Study
  2. Contrast Study
    • Barium sulfate
      • Barium Swallow
        for Esophagus Study (eg. Dysphagia, CA Esophagus, GERD)
      • Barium Meal
        for Stomach and Duodenum study (eg. Dyspepsia, CA)
      • GI Follow through
        for Small Bowel study (eg. Malabsorbtion, TB, Obstruction, Malrotation, Bowel Habit Change, Tumor)
      • Barium Enema
        for Large Bowel study (eg. LGIB, CA, Obstruction)
    • Water-soluble Contrast (Iodine)
  3. Ultrasound
  4. Angiogram
::: Note :::
Barium มีข้อดีที่สามารถให้ภาพชัดเจน แต่สามารถทำให้เกิด Peritonitis ได้มาก
Water-soluble นั้นจะไม่ก่อให้เกิด Peritonitis แต่ให้ภาพไม่ชัดนักและก่อให้เกิด Pulmonary edema ได้ถ้าสำลักเข้าปอด
!!! ดังนั้น ถ้าสงสัยว่าเกิด Perforation ให้ใช้ Water-soluble Contrast



Saturday, September 25, 2010

Milk Crepe with Chocolate Sauce

Ingredient

ส่วนผสมเครป

นมสด 300 ml 
ไข่ไก่ 4 ฟอง 
น้ำมันพืช 2 ช้อนโต๊ะ 
น้ำตาล 1 ช้อนโต๊ะ 
เกลือ 1 ช้อนชา 
เบกกิ้งโซดา 1/4 ช้อนชา 
แป้งสาลี 1/2 ถ้วย 
นมข้นหวาน, Chocolate Sauce และผลไม้สดตามชอบ สำหรับราดและรับประทานคู่ 

ส่วนผสม Chocolate Sauce

Unsweetened Chocolate 20 กรัม
ผงโกโก้ 1 ช้อนชา
น้ำตาลทราย 3 ช้อนโต๊ะ
น้ำเปล่า 1 ช้อนชา 
นมสด 1 ช้อนโต๊ะ


Direction

การทำเครป

  1. ผสมนมสด ไข่ไก่ น้ำมันพืช น้ำตาล เกลือ เข้าด้วยกันทั้งหมด ใช้ตะกร้อมือคนจนเข้ากันดี
  2. ใส่แป้งสาลีร่อนแล้วลงไปในส่วนผสม คนให้เข้ากัน
  3. พักส่วนผสมไว้ในตู้เย็นอย่างน้อย 30 นาที เพื่อให้ส่วนผสมเซ็ทตัวและข้นขึ้น
  4. เมื่อ ได่ที่แล้ว นำกระทะก้นแบนตั้งไฟปานกลาง ทาน้ำมันพืชผสมเนยให้ทั่ว ตักส่วนผสมที่เตรียมไว้ลงกระทะ เกลี่ยหรือร่อนกระทะให้ส่วนผสมกระจายทั่ว
  5. เมื่อ เครปสุกได้ที่ จะสังเกตได้จากการที่ขอบจะเริ่มร่อนออกจากกระทะ และมีฟองอากาศกระจายทั่ว ให้กลับด้านเพื่อให้เครปสุกทั่วทั้งสองด้าน นำขึ้นจากกระทะ
  6. พับเครปและนำใส่จาน ราดหน้าด้วยนมข้นหวาน และ Chocolate Sauce เสิร์ฟคู่กับผลไม้สดตามชอบ
การทำ Chocolate Sauce

  1. ละลาย Unsweetened Chocolate ด้วยการตุ๋น หรืออาจใช้ Microwave ให้พออ่อนตัว เติมนมสดอุ่นลงใป คนให้เข้ากัน
  2. เตรียม น้ำเชื่อม Chocolate ด้วยการนำ น้ำเปล่าผสมกับน้ำตาลทราย ต้มหรือเข้า Microwave คนคนน้ำตาลละลายหมด จากนั้นใส่ผงโกโก้และคนให้เข้ากัน
  3. ผสมส่วนผสมทั้งสองส่วนเข้าด้วยกัน คนให้เป็นเนื้อเดียวกัน จากนั้นทิ้งไว้ให้เย็น เตรียมเสิร์ฟ




Note :

- ถ้าหากไม่อยากทำ Chocolate Sauce สามารถนำนมข้นหวานผสมผงโกโก้ใช้แทนได้ แต่ความเข้มข้น และกลิ่นอาจสู้ไม่ได้
- ถ้าอยากได้เป็นแป้ง Chocolate ให้แทนที่แป้งสาลี 1 ช้อนโต๊ะด้วยผงโกโก้ และเพิ่มน้ำตาล 1 ช้อนชา และเบกกิ้งโซดาอีก 1/4 ช้อนชา

Wednesday, September 22, 2010

Panna Cotta


Ingredients 

เจลาตินเกล็ด 1 ช้อนโต๊ะ 
น้ำเปล่า 250 ml 
นมสด 750 ml 
น้ำตาล 10 ช้อนโต๊ะ 
เกลือ 1/4 ช้อนชา
  
Directions

  1. นำเจลาตินเกล็ดเทใส่น้ำเปล่าที่อุณหภูมิห้อง คนให้เข้ากัน ระวังอย่าให้จับตัวเป็นก้อน
  2. ผสม นมสด น้ำตาล เกลือ ใส่งลงหม้อ ต้มไฟปานกลางให้น้ำตาลละลายหมด
  3. เมื่อน้ำตาลละลายหมดแล้วปิดไฟ ยกลงจากเตา
  4. นำส่วนผสมในข้อ 1 เทลงผสม คนให้เข้ากันจนเจลาตินละลายหมด
  5. ทิ้งไว้ให้ส่วนผสมเย็นลงเหลือประมาณ 40OC เทใส่พิมพ์ นำเข้าตู้เย็นช่องธรรมดา รอให้เซ็ทตัว ~ 4 ชั่วโมง
  6. เสิร์ฟพร้อมผลไม้สดและซอสผลไม้ที่ชื่นชอบ